วิกฤตคนจน - AN OVERVIEW

วิกฤตคนจน - An Overview

วิกฤตคนจน - An Overview

Blog Article

หลังจากมีข่าวออกมาว่ารัฐบาลจะปรับลดงบประมาณในนโยบายดิจิทัลด้วยการเจาะจงช่วยเหลือกลุ่มบุคคลยากจนหรือผู้ที่มีรายได้น้อยเท่านั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียงกันในไทยก็คือระดับรายได้ของคนที่เรียกได้ว่า ‘ยากจน’ ในไทยว่าต้องมีรายได้หรือใช้ชีวิตแบบไหนถึงเรียกได้ว่าเป็นคนจนที่ควรได้รับความช่วยเหลือ

ปรับปรุงระบบภาษีให้สามารถกระจายรายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มาตรการทางภาษีเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญในการกระจายรายได้ แต่ในปัจจุบันยังมีช่องโหว่ในระบบให้คนรวยจำนวนมากไม่ต้องเสียเงินได้หลายประเภท รัฐบาลควรแก้ไขกฎหมายเพื่อปิดช่องโหว่ต่างๆ ตลอดจนทบทวนมาตรการลดหย่อนภาษีที่เอื้อกับผู้มีรายได้สูง และพัฒนาการจัดเก็บภาษีที่ดินและทรัพย์สินให้มีความเหมาะสม

ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาลตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล

ญัตติเสนอให้มีการสอบสวนนายปรีดี พนมยงค์ กรณีคอมมิวนิสต์

ความเหลื่อมล้ำเป็นเพียงแค่ทางเลือก ไม่ใช่สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

“ผ่อนได้ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” ดูเหมือนเป็นประโยคดึงดูดให้กลุ่มลูกค้ารายได้น้อย หรือเข้าไม่ถึงสินเชื่อประเภทอื่นเลือกจับจ่ายใช้สอย สิ่งนี้เกิดขึ้นกับร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กอีกแห่ง

เขามองว่า ทุกครั้งเมื่อรัฐบาลจะให้สวัสดิการ มักแบ่งแยกว่าใครเป็นคนจน หรือคนรวย เมื่อรวยแล้วไม่ควรได้ มักจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเสมอ เนื่องจากกระบวนการคัดกรองของรัฐขาดประสิทธิภาพและไม่แม่นยำ จะมีคนจนอีกครึ่งหนึ่งที่ตกสำรวจ จากการแบ่งแยกความจนของภาครัฐ โดยที่รัฐบาลไม่เรียนรู้จากการจัดทำนโยบายของต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จว่า การลดความผิดพลาดจากการสำรวจกลุ่มคนจนที่ได้ผลที่สุด คือ การให้แบบถ้วนหน้า โดยไม่แบ่งแยก

"ฟาสต์แฟชั่น" อุตสาหกรรมเสื้อผ้าในกัมพูชากำลังทำร้ายแรงงานในโรงงานเผาอิฐ

ในขณะที่โลกมีเทคโนโลยีด้านข้อมูลใหม่ๆ มากมาย จนทำให้เกิดข้อมูลท่วมท้นมหาศาล ปัญหานี้ควรต้องมีทางออก ในโลกวิชาการจึงมีพัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลและวัดดัชนีประเมินตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ‘ความยากจน’ โดยอาศัยเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลที่ก้าวออกไปจากกรอบเดิมๆ ทำให้มีทางเลือกในการติดตามสถานการณ์ความยากจนและชี้เป้ากลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น  

‘สวัสดิการแบบถ้วนหน้า’ เป็นสิ่งที่ควรวางแผน และดำเนินการอย่างเร่งด่วน ที่ผ่านมารัฐบาลกังวลเรื่องการใช้จ่ายงบประมาณ แต่เขาให้ความเห็นว่า เรื่องที่จำเป็น รัฐบาลต้องทุ่มงบประมาณลงไปดูแล โดยที่ไม่เสียดาย เช่น วิกฤตคนจน สวัสดิการดูแลเด็กเล็ก เพราะเมื่อไหร่ที่เด็กมีปัญหาในการใช้ชีวิต การพัฒนาต่อจากนั้นย่อมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ รัฐบาลหาช่องทางของงบประมาณเพื่อให้สวัสดิการเป็นเกราะป้องกันประชาชน เมื่อพบเจอวิกฤต และสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้โดยไม่ต้องกังวล

บทความนี้มีประโยชน์กับคุณมากน้อยเพียงใด *

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

สตรีมมิง-เที่ยว-ขนม! วัยรุ่นอเมริกันจำใจตัดใจ ลดรายจ่ายสู้เงินเฟ้อ แห่หาอาชีพเสริม หวั่นรายได้ไม่พอใช้

เทคโนโลยี ความรู้ และเครื่องมือใหม่ๆ เหล่านี้ทำให้เราเห็นว่า หากรัฐปรับตัวให้ไว หันมาร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ เพื่อใช้เทคโนโลยีและข้อมูลให้เกิดประโยชน์ ปัญหาหลายอย่างอาจถูกแก้ไขได้เร็วขึ้น ลดความสูญเสีย และบรรเทาความเดือดร้อนของกลุ่มคนที่เปราะบางที่สุดได้ ดังตัวอย่างในประเทศโตโก 

Report this page